รวมบทความเกี่ยวกับเรียนภาษาอังกฤษสำหรับเด็ก
คุณพ่อคุณแม่หลาย ๆ ท่านอาจจะกำลังมองหาตัวช่วยให้ลูกของเรานั้นเก่งขึ้นใช่ไหมคะ เพราะเด็กที่เก่งย่อมได้รับโอกาสทางอนาคตมากกว่าใคร แต่สิ่งเหล่านี้ต้องเริ่มจากการพัฒนาทักษะทางสมองก่อนค่ะ วันนี้ Globish Kids จึงอยากชวนคุณพ่อคุณแม่มารู้จัก 5 ทริคง่าย ๆ ที่จะช่วยพัฒนาสมองให้ลูกกันค่ะ
หนึ่งในปัญหาของคุณพ่อคุณแม่หลาย ๆ ท่าน คือ ไม่รู้ว่าลูกได้ภาษาอังกฤษแค่ไหน? ทำให้ไม่สามารถเลือกการเรียนภาษาอังกฤษที่เหมาะสมให้ลูกได้ จนบางครั้งอาจมองว่าลูกไม่พัฒนาสักที ทั้งที่ความจริงแล้ว ลูกอาจจะเรียนในสิ่งที่ไม่เหมาะสมกับตัวเองอยู่ก็ได้ค่ะ วันนี้ Globish Kids จึงอยากชวนคุณพ่อคุณแม่ทุกท่านมาดูกันว่า ลูกของเรานั้นมีทักษะทางภาษาอยู่ในระดับใด ซึ่งเรามีวิธีสังเกตลูกแบบง่าย ๆ มาฝากกันด้วย คุณพ่อคุณแม่ลองนำคำถามเหล่านี้ไปพูดกับลูก และสังเกตลูกกันนะคะ
คุณพ่อคุณแม่หลาย ๆ ท่านเป็นไหมคะ บางครั้งเผลอทำนิสัยที่ไม่ดีของตัวเองใส่ลูก จนทำให้ลูกนั้นไม่ชอบภาษา ไม่กล้าสื่อสารภาษาอังกฤษ เพราะอาย และกลัวพูดผิด ซึ่งนั้นส่งผลให้ภาษาของลูกไม่พัฒนา จนสุดท้ายลูกก็พูดภาษาอังกฤษไม่ได้ แต่คุณพ่อคุณแม่อย่ากังวลใจนะคะ หากเราปรับแก้นิสัย และปรับคำพุดที่มีต่อลูก เอาใจลูกมาใส่ใจเรามาก ๆ เชื่อว่าลูกจะต้องกลับมากล้าพูด กล้าสื่อสาร และมีตวามมั่นใจในการสื่อสารอย่างแน่นอนค่ะ
การออกเสียงให้ชัดเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากในภาษาอังกฤษ เพราะการออกเสียงจะช่วยให้ผู้ฟังเข้าใจในสิ่งที่สื่อสารมากขึ้นนั่นเองค่ะ ซึ่งสิ่งนี้ก็อาจเป็นปัญหาของเด็ก ๆ ในหลายบ้านใช่ไหมคะ เนื่องจากภาษาอังกฤษไม่ใช่ภาษาบ้านเกิดของเด็ก ๆ จึงอาจทำให้การออกเสียงในบางคำนั้นผิดเพี้ยนไปบ้าง ทั้งจากการออกเสียงไม่ชัด หรือการที่ไม่เข้าใจภาษาอังกฤษมากพอ ดังนั้นคุณพ่อคุณแม่ต้องค่อย ๆ ฝึกฝนลูกไปทีละเล็ก ทีละน้อยนะคะ
ทำยังไงดี ให้ลูกท่องคำศัพท์ก็แล้ว ให้ลูกอ่านหนังสือก็แล้ว แต่ลูกก็ยังจำคำศัพท์ไม่ได้ ยังพูดตอบไม่ได้เพราะลืมศัพท์ภาษาอังกฤษ แถมยังเรียนไม่ทันเพื่อน ไม่เข้าใจภาษา เนื่องจากจำคำศัพท์ไม่ได้ คุณพ่อคุณแม่หลาย ๆ ท่านจะเครียดเพราะหากลูกยังคงจำศัพท์ไม่ได้ ก็อาจจะส่งผลถึงคะแนนสอบต่าง ๆ ทั้งคะแนนภาษา และคะแนนภาพรวมที่อาจจะตกลงใช่ไหมคะ แต่ว่าเรายังเสริมภาษาให้ลูกได้นะคะ ซึ่งเริ่มจากเคล็ดลับง่าย ๆ ที่นำมาฝากในวันนี้
สังเกตไหมคะ เด็กแต่ละคนนั้นจะมีความถนัดเฉพาะตัวที่แตกต่างกัน สิ่งนี้จึงเป็นที่มาของทฤษฎีจาก Howard Gardner นักจิตวิทยาด้านการพัฒนาชาวอเมริกัน ที่ได้แบ่งความถนัดของมนุษย์ออกเป็น 8 ด้าน หรือกันเรียกว่า “พหุปัญญา” (Multiple Intelligences) นั่นเองค่ะ